top of page


บทความ
AUDIT ASSURANCE AND CONSULTING

เกิดอะไรขึ้นกับ H&M
บริษัท ในเครือของ H&M ประเทศเยอรมัน ถูกปรับเป็นจำนวนเงิน 1,304 ล้านบาท โดยสำนักงานคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของฮัมบูร์ก...

หลัก 7 ประการของ Privacy by Design (PbD) มีอะไรบ้าง
1. Proactive not Reactive; Preventative not Remedial Privacy by Design (PbD) หรือการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตั้งแต่กระบวนการออกแบบ เป็น...

Data Breach หรือการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ได้หมายถึงแค่ข้อมูลรั่วไหล
ตามกฎหมาย GDPR Article 4(12) ให้ความหมายของคำว่า เหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล หมายถึง การละเมิดมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่นำไปสู่...

เจ้าของข้อมูลมีสิทธิขอสำเนาเอกสารต้นฉบับทั้งหมดได้หรือไม่ ?
คำถามนี้เกิดขึ้นแล้วในต่างประเทศภายใต้กฎหมาย GDPR แต่คำตอบของสำนักงานคณะกรรมการด้านข้อมูลข่าวสาร หรือ The Information Commissioner’s...


การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล เช่น เลขประจำตัวประชาชน ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศั
. . . 1.ความยินยอม เป็นฐานในการประมวลผลได้เฉพาะในกรณีที่เจ้าของข้อมูลได้สมัครใจ “เลือก” ที่ จะยินยอมให้ผู้ควบคุมข้อมูลประมวลผลได้ เช่น...


ใครบ้างที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคล
. 1. เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (Data Subject) คือบุคคลธรรมดาหรือตัวท่านเอง . 2. ผู้ควบคุมข้อมูล (Data Controller) หมายความว่า...

ความรับผิดทางอาญา
การใช้หรือเปิดเผยข้อมูลที่มีความละเอียดอ่อนโดยมิชอบหรือนอกเหนือวัตถุประสงค์ หรือโอนข้อมูลไปยังต่างประเทศ ทำให้ผู้อื่นเกิดความเสียหาย...


ความรับผิดทางแพ่ง
ผู้ควบคุมข้อมูลหรือผู้ประมวลผลข้อมูล ที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของข้อมูล ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ไม่ว่าจะจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ....

เหตุละเมิด 5 อันดับที่เกิดขึ้นบ่อยสุด จากกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปและค่าปรับตามกฎหมาย GDPR 👈
📌อันดับที่ 1 ติดกล้องวงจรปิดส่องไปยังพื้นที่สาธารณะ โดนปรับโดยเฉลี่ย 200,000 บาท . 📌อันดับที่ 2 แอบถ่ายผู้หญิงอาบน้ำ โดนปรับโดยเฉลี่ย...

16 ข้อต้องทำ เพื่อเตรียมตัวให้พร้อมกับ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
1.กรรมการหรือผู้บริหารสูงสุดต้องรู้ว่าองค์กรที่ตนกำกับดูแลและบริหารอยู่ ต้องปฏิบัติตามกฎหมายและกำหนดผู้รับผิดชอบเรื่องนี้...


อยากรู้ว่าเว็บไซต์ขององค์กรโดน Hack ไปหรือยัง
ถ้าเคยไปแล้วต้องรีบหาทางแก้ไขด่วน ไม่เช่นนั้น อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้องค์กรมีความผิดตาม PDPA ได้ หากเว็บไซต์นั้นๆ...

บันทึกที่ Compliance และ IT ต้องส่งให้ CEO เพื่อเตรียมตัวให้พร้อมกับ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
. . . เรียนท่านประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๗๙ ระบุว่า ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลผู้ใดฝ่าฝืนม...


พ่อแม่ยุคคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลต้องรู้
พ่อแม่ยุคคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลต้องรู้ . . . ผู้ปกครองถ่ายรูปบุตรของตนและเพื่อนๆในกิจกรรมวันปีใหม่ในโรงเรียนและ post ใน social media...

บทบาทใน พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลระหว่าง บริษัทนายจ้าง VS Headhunter
สาระน่ารู้จากกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล “บริษัทนายจ้าง vs บริษัทตัวแทนจัดหางาน” . หลังจากที่ได้รับรู้กันแล้วว่า.....

ทำ PDPA อย่าลืมประเมินความเสี่ยงกรณีส่งอีเมลผิดที่ด้วย
สำนักงานคุ้มครองข้อมลส่วนบุคคลของโปแลนด์สั่งปรับบริษัทประกัน เนื่องจากส่งอีเมลกรมธรรม์ไปผิดที่เพียงจำนวน 2 ฉบับ . . . ในเดือนพฤษภาคม 2020...